Know more about us
สำหรับผู้ที่สนใจหลักสูตรโท เอก ของภาควิชาเคมี จุฬาฯ สามารถรับชมการถ่ายทอดสดย้อนหลังของกิจกรรม Active Recruitment 2022 ซึ่งจะมีข้อมูลเกี่ยวกับสองหลักสูตร ได้แก่
ข่าวสารและประกาศ
- การแข่งขันตอบปัญหาวิชาการ Chem Challenge ครั้งที่ 11 ก.ย. 4, 2023
- พบกับกิจกรรมของภาควิชาเคมีในงาน Sci Chula Open House 2023 มี.ค. 29, 2023
- นิสิต BSAC ชั้นปีที่ 4 ร่วมงาน Global Young Scientists Summit ประจำปี 2566 มี.ค. 27, 2023
- The 5th Joint Symposium CU-NUT มี.ค. 20, 2023
- ผศ.ดร.ธนธรณ์ ขอทวีวัฒนา ได้ให้สัมภาษณ์กับรายการเจาะประเด็นข่าว 7HD ในหัวข้อ “ไขปัญหา ! ผ้าเปลี่ยนเป็นสีชมพู เพราะน้ำยาซักผ้าขาว” มี.ค. 10, 2023
นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต
- รับสมัครทุนสควค. ประจำปีการศึกษา 2566 TCAS66 รอบ 1 ธ.ค. 28, 2022
- เปิดรับสมัครทุนพสวท. ประจำปีการศึกษา 2566 TCAS66 รอบ 1 ธ.ค. 28, 2022
- มหกรรมนำเสนอผลงาน Senior Project, Applied Chemistry Project และ Cooperative Project ประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2565 ธ.ค. 18, 2022
- การบรรยายในหัวข้อ “How to handle and store chemicals in warehouse safely” ก.ย. 25, 2022
- Chem-CU Lab Training Camp 2022 ส.ค. 5, 2022
นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
- เปิดรับสมัครนิสิตบัณฑิตศึกษา รอบที่ 1 ภาคการศึกษาภาคปลาย ประจำปีการศึกษา 2566 ส.ค. 7, 2023
- เปิดรับสมัครนิสิตบัณฑิตศึกษาสาขา green chemistry and sustainability รอบที่ 2 ภาคการศึกษาภาคต้น ประจำปีการศึกษา 2566 มี.ค. 19, 2023
- เปิดรับสมัครนิสิตบัณฑิตศึกษา รอบที่ 2 ภาคการศึกษาภาคต้น ประจำปีการศึกษา 2566 มี.ค. 19, 2023
- เปิดรับสมัครนิสิตบัณฑิตศึกษาสาขา green chemistry and sustainability รอบที่ 1 ภาคการศึกษาภาคต้น ประจำปีการศึกษา 2566 ก.พ. 1, 2023
- เปิดรับสมัครนิสิตบัณฑิตศึกษา รอบที่ 1 ภาคการศึกษาภาคต้น ประจำปีการศึกษา 2566 ก.พ. 1, 2023
Schomburginones A‒J, geranylated benzophenones from the leaves of Garcinia schomburgkiana and their cytotoxic and anti-inflammatory activities
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญยิ่งในการค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีโอกาสพัฒนาเป็นยารักษาโรค คณะผู้วิจัยนำโดย ผศ.ดร.วรินทร ชวศิริ รศ.ดร.สันติ ทิพยางค์ ดร.ชณัท อ้นบางเขน และ Postdoctoral fellow, Dr. Edwin R. Sukandar ได้แยกสารจากใบมะดัน (Garcinia schomburgkiana) และค้นพบสารใหม่ 10 ตัว ให้ชื่อว่า Schomburginones A− J เป็นสารในกลุ่ม benzophenones พร้อมกับอนุพันธ์ 14 ตัว ได้วิเคราะห์โครงสร้างด้วยเทคนิค NMR spectroscopy และ Mass spectrometry ศึกษา absolute configurations ด้วยเทคนิค ECD ร่วมกับ single-crystal X-ray diffraction ได้ทดสอบฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 3 ชนิด คือ HepG2 (เซลล์มะเร็งตับ) A549 (เซลล์มะเร็งปอด) และ HeLa (เซลล์มะเร็งปากมดลูก) พบว่าสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้ดีที่สุด ด้วยค่า IC50 ในช่วง 12.2–15.7 μM และมีความจำเพาะต่อเซลล์มะเร็งมากกว่าเซลล์ปกติ >3.5 เท่า นอกจากนี้ ได้นำสาร 4 ตัวไปทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพเพิ่มเติมเพื่อดูสมบัติต้านการอักเสบในเซลล์ภูมิคุ้มกันชนิด RAW 264.7 macrophage cells พบว่า มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งสารไนตริกออกไซด์ (NO) ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการอักเสบ (inflammation) ได้ถึง 85%
การศึกษานี้ถือเป็นต้นแบบสำคัญของการใช้องค์ความรู้ทางเคมีอินทรีย์ มาศึกษาวิจัยเชิงลึกเพื่อค้นหาสารสำคัญจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาสมุนไพรไทยเพื่อเป็นยา เครื่องสำอาง หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ และไม่มีผลข้างเคียง อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการสร้างความยั่งยืนแก่อุตสาหกรรมสมุนไพรไทยให้มีผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งในประเทศและต่างประเทศได้เป็นอย่างดี
การศึกษานี้ถือเป็นต้นแบบสำคัญของการใช้องค์ความรู้ทางเคมีอินทรีย์ มาศึกษาวิจัยเชิงลึกเพื่อค้นหาสารสำคัญจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาสมุนไพรไทยเพื่อเป็นยา เครื่องสำอาง หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ และไม่มีผลข้างเคียง อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการสร้างความยั่งยืนแก่อุตสาหกรรมสมุนไพรไทยให้มีผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งในประเทศและต่างประเทศได้เป็นอย่างดี
